ชาวคริสต์ควรทำอย่างไรเมื่อโรคระบาด ~ มุมมองของ มาร์ติน ลูเธอร์

เมื่อ ค.ศ. 1527 นักปฏิรูปโปรเตสแตนต์ มาร์ติน ลูเธอร์  เขียนบันทึกนี้   ขณะที่เขาเผชิญหน้ากับโรคระบาด “กาฬมรณะ” ที่เมืองวิตเตนเบิร์ก ประเทศเยอรมัน
"ข้าพเจ้าจะทูลขอพระเจ้าให้เมตตาปกป้องเรา จากนั้นข้าพเจ้าจะรมยา ช่วยทำให้อากาศสะอาด จัดหายาให้ผู้อื่น และรับประทานยาเอง ข้าพเจ้าจะหลีกเลี่ยงสถานที่และบุคคลที่ไม่ต้องการตัวของข้าพเจ้า เพื่อไม่ให้ตัวเองติดเชื้อ และมีโอกาสทำให้คนอื่นต้องติดเชื้อและทำให้พวกเขาต้องเสียชีวิตเพราะความประมาทเลินเล่อของข้าพเจ้า หากพระเจ้าปรารถนาที่จะรับข้าพเจ้าไป พระองค์จะพบตัวข้าพเจ้าอย่างแน่นอน และข้าพเจ้าได้ทำสิ่งที่ข้าพเจ้าเองสมควรทำแล้ว ดังนั้นข้าพเจ้าจึงไม่ต้องรับผิดชอบต่อความตายของตัวข้าพเจ้าเองหรือของผู้อื่น อย่างไรก็ตาม หากเพื่อนบ้านต้องการข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะไม่หลีกเลี่ยงสถานที่หรือบุคคล แต่จะไปอย่างอิสระตามที่ระบุไว้ข้างต้น นี่เป็นความเชื่อวางใจที่ยำเกรงพระเจ้า เพราะความเชื่อเช่นนี้ไม่ได้เกิดขึ้นจากความหุนหันพลันแล่นหรือความบ้าบิ่นและการทดสอบพระเจ้า”
luther preaching sqaure

Book Review - The Unfinished Mission in Thailand by Samuel Kim

Kim, Samuel I., The Unfinished Mission in Thailand: The Uncertain Christian Impact on the Buddhist Heartland, Seoul: East-West Center for Missions Research and Development, 1980

the unfinished mission in thailand sameul kimThere are not too many books on the history of the church in Thailand and my most common go-to books are S.G. McFarland’s Historical Sketch of Protestant Missions 1828-1928 and Alex Smith’s Siamese Gold, which brings the story of the Thai church up to 1982.  Both books, however, do a better job with chronicling earlier Thai church history (pre-WWII) than post-war.  Truth be told, Smith’s book does cover the post-war period, though he provides more information on evangelical missions working apart from the Church of Christ in Thailand (CCT) than he does the CCT itself. Kenneth Wells’ History of Protestant Work in Thailand, 1828-1958 is somewhat useful if you want an official sanitized version of the American Presbyterian Mission and CCT in the post-war period but if you compare Wells’ book with Samuel Kim’s The Unfinished Mission in Thailand: The Uncertain Christian Impact on the Buddhist Heartland, it becomes immediately obvious that there is a lot of dirty laundry that Wells left out.

Samuel Kim begins his book with a couple of general chapters discussing Thailand, Buddhism, and the history of Christian missions in Thailand up through WWII, most of which you can easily find in the other books I’ve just mentioned.  However, beginning with chapter 3, he begins discussing tensions between the American Presbyterian missionaries and Thai Christians leaders after World War II up through the late 1970s.  It is this second part of the book that is the most valuable and forms Kim’s unique contribution to understanding the history of Christianity in Thailand.

"Siam, Land of the White Elephant" - Video of American Presbyterian Mission & Thai churches, schools in 1932

In January 1932, the Publication Department of the Board of Foreign Missions of the Presbyterian Church (USA) sent Rev. Henri R. Rabb, a missionary in India, to visit Thailand to gather footage to make a short film about Presbyterian missions there.  Arriving on Feb 2nd with his wife and 8-year-old son, Rabb visited Bangkok and Chiang Mai.  Paul Eakin, the executive secretary of the Siam Mission, assigned Rev. Paul Fuller to assist Rabb in Bangkok, and Dr. D.R. Collier to assist him in Chiang Mai.
 
Title Screen
Title Screen "Siam, Land of the White Elephant"
 

ความเหมือน และความแตกต่างระหว่าง นิกายโปรเตสแตนท์และนิกายโรมันคาธอลิก

หลายคนรู้ว่านิกายโรมันคาธอลิกและนิกายโปรเตสแตนท์เป็นของศาสนาคริสต์ แต่ยังไม่รู้ว่าทั้งสองนิกายนี้แต่กต่างกันอย่างไร  ทั้งสองกลุ่มมีความเชื่อตาม หลักข้อเชื่อของอัครทูต และ หลักข้อเชื่อไนซีน แต่ยังมีหลายข้อที่ไม่เหมือนกัน

ข้างล่างนี่ท่านจะพบการสรุปสั้นๆ เรื่องความแตกต่างระหว่างนิกายโรมันคาธอลิกและนิกายโปรเตสแตนท์   

 

 

หลักความเชื่อ

คาธอลิก

โปรเตสแตนท์

1

สิทธิสูงสุดในการปกครองของคริสตจักร

สังฆธิปไตย (การปกครองตามลำดับลงมา) - สันตะปาปาเป็นประมุข

1) สังฆธิปไตย (แบบแองกลิคัน)
2) คณะผู้ปกครองที่ระดับภาค (แบบสภาฯ)
3) คณะผู้นำของคริสตจักรท้องถิ่น (แบบแบบติสต์)

2

สิทธิอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อ

ประเพณีและคำสอนของศาสนจักร

พระคริสตธรรมคัมภีร์

3

ความรอด

โดยพระคุณด้วยมีการกระทำเป็นตัวช่วย

โดยพระคุณพระเจ้าเท่านั้น

4

คนกลางระหว่างเรากับพระเจ้า

พระเยซูคริสต พระแม่มารี เหล่านักบุญ และบาทหลวงประจำโบสถ์

พระเยซูคริสต์เท่านั้น

5

หลังความตาย

คนเชื่อพระคริสต์ไปแดนชำระรับโทษบาป แล้วขึ้นสวรรค์เมื่อถูกชำระแล้ว
คนไม่เชื่อพระคริสตอาจตกนรก หรือ อาจรอด (คำสอนของคาธอลิกยื่นยันทั้งสองอย่าง)

คนเชื่อพระคริสตขึ้นสวรรค์
คนไม่เชื่อถูกพิพากษาลงโทษนิรันดร์

6

พิธีมหาสนิด

ขนมปังและน้ำองุ่นเปลี่ยนแปลงเป็นพระกายและพระโลหิตแท้ของพระเยซูคริสต์  พีธีเป็นการถวายบูชา

ขนมปังและน้ำองุ่นเป็นสัญญาลักษณ์ช่วยผู้เชื่อให้ระลึกถึงพระเยซูคริสต์

7

ผู้นำคริสตจักร

บาทหลวง  ห้ามแต่งงาน

ศิยาภิบาล ผู้ปกครอง และ/หรือทีมผู้นำ
แต่งงานได้

8

รูปปั้น  ภาพศิลปะ

รูปปั้น และภาพศิลปะเป็นตัวช่วยผู้เชื่อนมัสการพระเจ้า

รูปปั้นมีน้อย ไม่มีบทบาทในการนมัสการ
ภาพศิลปะใช้ในการสอนเด็ก หรือเอาไว้เพื่อความสวยงามเท่นนั้น

Image by Free-Photos from Pixabay

ท่านใดที่สนใจรู้เพิ่มเติมสามารถ

 

Donation Address

OMF International
10 W. Dry Creek Circle
Littleton, CO 80120

With your check, please include a note indicating support for "Karl & Sun Dahlfred"
You may also give online.